(ที่มา: ได้ทำการคัดลอกมาจากเว็บไซด์การไฟฟ้าส่วนภูมิภาคบางส่วนเพื่อใช้ประโยชน์ในการแสดงวิธีคิดค่าไฟฟ้าของบ้านอยู่อาศัยและกิจการขนาดเล็กในส่วนภูมิภาคเท่านั้น (updated:6/8/57))
อัตราค่าไฟฟ้า
ประเภทที่ 1 บ้านอยู่อาศัย
สำหรับการใช้ไฟฟ้าภายในบ้านเรือนที่อยู่อาศัย รวมทั้งวัด สำนักสงฆ์ และสถานประกอบศาสนกิจของทุกศาสนา ตลอดจนบริเวณที่เกี่ยวข้อง
โดยต่อผ่านเครื่องวัดไฟฟ้าเครื่องเดียว
1.1 อัตราปกติ ค่าพลังงานไฟฟ้า (บาท/หน่วย) ค่าบริการ (บาท/เดือน)
1.1.1 ใช้พลังงานไฟฟ้าไม่เกิน 150 หน่วยต่อเดือน 8.19
15 หน่วยแรก (หน่วยที่ 0 – 15) 1.8632
10 หน่วยต่อไป (หน่วยที่ 16 – 25) 2.5026
10 หน่วยต่อไป (หน่วยที่ 26 – 35) 2.7549
65 หน่วยต่อไป (หน่วยที่ 36 - 100) 3.1381
50 หน่วยต่อไป (หน่วยที่ 101 – 150) 3.2315
250 หน่วยต่อไป (หน่วยที่ 151 – 400) 3.7362
เกิน 400 หน่วยขึ้นไป (หน่วยที่ 401 เป็นต้นไป) 3.9361
ผู้ใช้ไฟฟ้าประเภทที่ 1.1.1 ที่ใช้ไฟฟ้าไม่เกิน 50 หน่วยต่อเดือน ได้รับสิทธิค่าไฟฟ้าฟรีในเดือนนั้น
1.1.2 ใช้พลังงานไฟฟ้าเกิน 150 หน่วยต่อเดือน 38.22
150 หน่วยแรก (หน่วยที่ 0 – 150) 2.7628
250 หน่วยต่อไป (หน่วยที่ 151 – 400) 3.7362
เกิน 400 หน่วยขึ้นไป (หน่วยที่ 401 เป็นต้นไป) 3.9361
1.2 อัตราตามช่วงเวลาของการใช้ (Time of Use Rate : TOU) ค่าพลังงานไฟฟ้า (บาท/หน่วย) ค่าบริการ (บาท/เดือน)
Peak Off Peak
1.2.1 แรงดัน 22 – 33 กิโลโวลท์ 4.5827 2.1495 312.24
1.2.2 แรงดันต่ ากว่า 22 กิโลโวลท์ 5.2674 2.1827 38.22
หมายเหตุ1. ผู้ใช้ไฟฟ้าที่ติดตั้งเครื่องวัดไฟฟ้าไม่เกิน 5 แอมป์ 220 โวลท์1 เฟส 2 สาย จะจัดเข้าประเภทที่ 1.1.1 แต่หากมีการใช้ไฟฟ้าเกิน 150 หน่วยติดต่อกัน 3 เดือน ในเดือนถัดไปจะจัดเข้าประเภทที่ 1.1.2 และเมื่อใดที่การใช้ไฟฟ้าไม่เกิน 150 หน่วยติดต่อกัน 3 เดือน ในเดือนถัดไปจะจัดเข้าประเภทที่1.1.1
2. ผู้ใช้ไฟฟ้าที่ติดตั้งเครื่องวัดไฟฟ้าเกิน 5 แอมป์ 220 โวลท์ 1 เฟส 2 สาย จะจัดเข้าประเภทที่ 1.1.2
3. ประเภทที่ 1.2 กรณีติดตั้งเครื่องวัดไฟฟ้าทางด้านแรงต่ าของหม้อแปลงซึ่งเป็นสมบัติของผู้ใช้ไฟฟ้า ให้ค านวณหน่วยคิดเงินเพิ่มขึ้นอีกร้อยละ 2 เพื่อครอบคลุมการสูญเสียในหม้อแปลงไฟฟ้าซึ่งมิได้วัดรวมไว้ด้วย
4. ประเภทที่ 1.2 เป็นอัตราเลือก ทั้งนี้ ผู้ใช้ไฟฟ้าจะต้องช าระค่าเครื่องวัด TOU และหรือค่าใช้จ่ายอื่นตามที่การไฟฟ้าส่วนภูมิภาคก าหนด และหากเลือกใช้ไปแล้วไม่น้อยกว่า 12 เดือน สามารถแจ้งความประสงค์ขอเปลี่ยนกลับไปใช้อัตราประเภทที่ 1.1 ตามเดิมได
ประเภทที่ 2 กิจการขนาดเล็ก
ส าหรับการใช้ไฟฟ้าเพื่อประกอบธุรกิจ ธุรกิจรวมกับบ้านอยู่อาศัย อุตสาหกรรม หน่วยราชการ ส านักงาน หรือหน่วยงานอื่นใดของรัฐ องค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ สถานทูต สถานที่ท าการของหน่วยงานราชการต่างประเทศ และสถานที่ท าการขององค์การระหว่างประเทศ หรืออื่นๆ
ตลอดจนบริเวณที่เกี่ยวข้อง ซึ่งมีความต้องการพลังไฟฟ้าเฉลี่ยใน 15 นาทีสูงสุดต่ ากว่า 30 กิโลวัตต์ โดยต่อผ่านเครื่องวัดไฟฟ้าเครื่องเดียว
2.1 อัตราปกติ ค่าพลังงานไฟฟ้า (บาท/หน่วย) ค่าบริการ (บาท/เดือน)
2.1.1 แรงดัน 22 – 33 กิโลโวลท์ 3.4230 312.24
2.1.2 แรงดันต่ ากว่า 22 กิโลโวลท์ 46.16
150 หน่วยแรก (หน่วยที่ 0 – 150) 2.7628
250 หน่วยต่อไป (หน่วยที่ 151 – 400) 3.7362
เกิน 400 หน่วยขึ้นไป (หน่วยที่ 401 เป็นต้นไป) 3.9361
2.2 อัตราตามช่วงเวลาของการใช้ (Time of Use Rate : TOU) ค่าพลังงานไฟฟ้า (บาท/หน่วย) ค่าบริการ (บาท/เดือน)
Peak Off Peak
2.2.1 แรงดัน 22 – 33 กิโลโวลท์ 4.5827 2.1495 312.24
2.2.2 แรงดันต่ ากว่า 22 กิโลโวลท์ 5.2674 2.1827 46.16
หมายเหตุ 1. ประเภทที่ 2.2 กรณีติดตั้งเครื่องวัดไฟฟ้าทางด้านแรงต่ าของหม้อแปลงซึ่งเป็นสมบัติของผู้ใช้ไฟฟ้า ให้ค านวณหน่วยคิดเงินเพิ่มขึ้นอีกร้อยละ 2 เพื่อครอบคลุมการสูญเสียในหม้อแปลงไฟฟ้าซึ่งมิได้วัดรวมไว้ด้วย
2. ประเภทที่ 2.2 เป็นอัตราเลือก ทั้งนี้ ผู้ใช้ไฟฟ้าจะต้องช าระค่าเครื่องวัด TOU และหรือค่าใช้จ่ายอื่นตามที่การไฟฟ้าส่วนภูมิภาคก าหนด และหากเลือกใช้ไปแล้วไม่น้อยกว่า 12 เดือน สามารถแจ้งความประสงค์ขอเปลี่ยนกลับไปใช้อัตราประเภทที่ 2.1 ตามเดิมได้
3. เดือนใดมีความต้องการพลังไฟฟ้าตั้งแต่ 30 กิโลวัตต์ขึ้นไป ให้เปลี่ยนประเภทผู้ใช้ไฟฟ้าเป็นประเภทที่ 3 หรือ 4 หรือ 5 แล้วแต่กรณี
ข้อกำหนดเกี่ยวกับอัตราค่าไฟฟ้า
1. ค่าเพาเวอร์แฟคเตอร์จะเรียกเก็บกับผู้ใช้ไฟฟ้าที่คิดค่าความต้องการพลังไฟฟ้า ซึ่งมีเพาเวอร์แฟคเตอร์แลค (Lag) เฉพาะเดือนที่มีความต้องการพลังไฟฟ้ารีแอคตีฟเฉลี่ยใน 15 นาทีที่สูงสุดเกินกว่าร้อยละ 61.97 ของความต้องการพลังไฟฟ้าแอคตีฟเฉลี่ย ใน 15 นาทีที่สูงสุด เมื่อคิดเป็นกิโลวัตต์แล้ว โดยส่วนที่เกินจะต้องเสียค่าเพาเวอร์แฟคเตอร์ในอัตรากิโลวาร์ (KVAR) ละ 56.07 บาท (เศษของกิโลวาร์ ถ้าไม่ถึง 0.5 กิโลวาร์ตัดทิ้ง ตั้งแต่ 0.5 กิโลวาร์ขึ้นไปคิดเป็น 1 กิโลวาร์)
2. อัตราค่าไฟฟ้าข้างต้น ยังไม่รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม
3. ค่าไฟฟ้าที่เรียกเก็บในแต่ละเดือน ประกอบด้วย ค่าไฟฟ้าตามอัตราข้างต้น ค่าไฟฟ้าผันแปร (Ft) และภาษีมูลค่าเพิ่ม
อัตราค่าไฟฟ้าข้างต้น เริ่มใช้ตั้งแต่ ค่าไฟฟ้าประจ่าเดือน มิถุนายน 2555 เป็นต้นไป
|